Skip to main content

สำนักงานแรงงาน จังหวัดยะลา

รายงานสถานการณ์แรงงานจ้งหวัดยะลา ไตรมาส 2 ปี 2558 (เมษายน-มิถุนายน)

pll_content_description

บทสรุปผู้บริหาร

สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558 มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้

สำนักงานคลังจังหวัดยะลา รายงานภาวะเศรษฐกิจจังหวัดยะลา ประจำเดือนพฤษภาคม 2558
ว่าเศรษฐกิจจังหวัดมีสัญญาณขยายตัวจาก ด้านอุปทาน ตามการขยายตัวของการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้านอุปสงค์ เป็นผลมาจากการขยายตัวของการค้าชายแดน และการบริโภคเอกชน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อของจังหวัดต่ำสุดในรอบ 6 ปี รายได้เกษตรกร ในจังหวัดยะลาขยายตัว
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) มีสัญญาณขยายตัว สะท้อนจากดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ในเดือนพฤษภาคม 2558 ขยายตัวร้อยละ 25.86 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน เป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญของจังหวัดมีปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.26 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย มีฝนตกทั่วทุกพื้นที่ ทำให้ต้นยางพารามีน้ำหล่อเลี้ยงที่เพียงพอต่อการใช้ผลิตน้ำยาง ส่งผลให้ปริมาณน้ำยางที่กรีดได้เพิ่มขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว
ร้อยละ 4.62 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางพารา ขยายตัวร้อยละ 20.37 เป็นผลมาจากผลผลิตยางพารา วัตถุดิบหลักที่สำคัญสำหรับใช้ในการผลิตมีจำนวนเพิ่มขึ้น โรงงานอุตสาหกรรม
จึงมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ด้านภาคบริการ ขยายตัว โดยดัชนีภาคบริการ ขยายตัว
ร้อยละ 23.48 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.68 เป็นผลมาจากได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และความร่วมมือที่ดีจากประเทศมาเลเซีย ร่วมกันประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ทำให้ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและสิงคโปร์ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในอำเภอเบตง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดเพิ่มมากขึ้น
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) โดยรวมขยายตัว จากเครื่องชี้ดัชนีการค้าชายแดน ขยายตัวร้อยละ 5.08 จากมูลค่าการส่งออกรวม ขยายตัวร้อยละ 9.66 โดยการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาจากสินค้าในหมวดอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากยางพารา เช่น ยางผสมสำเร็จ ยางแท่ง ยางสกิม ปรับตัวดีขึ้น ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 14.32 สะท้อนผ่านเครื่องชี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 22.91 เป็นผลมาจากกิจการการก่อสร้างอาคาร มียอดขายเพิ่มขึ้น ทำให้การจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ ด้านการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ร้อยละ 3.71 ปรับตัวลงลงจากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมร้อยละ 4.25 ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล หดตัวลดลง
ร้อยละ 10.55 เป็นผลมาจากากรเบิกจ่ายงบประจำหดตัวลดลงร้อยละ 18.46 เนื่องจากส่วนราชการหลายหน่วยงานมีการเบิกจ่ายงบประจำได้น้อยกว่าเดือนเดียวกันปีก่อน เช่น ศูนย์อำนวยการบริการจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกอบกับในปีนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับงบลงทุนบางส่วนในลักษณะงบประจำ ส่งผลให้เบิกจ่ายงบประจำได้ลดลง ส่วนการเบิกจ่ายงบลงทุน
ขยายตัวร้อยละ 38.09 เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผ่านมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายของ
ส่วนราชการ เพื่อเร่งอัดฉีดเม็ดเงินลงสู่ระบบเศรษฐกิจในภาวะที่เศรษฐกิจกำลังชะลอตัว

จังหวัดยะลามีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัดยะลา จำนวน 324,996 คน เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน225,022 คน ผู้มีงานทำ 223,441 คน ผู้ว่างงาน 1,582 คน และไม่มีกำลังที่แรงงานรอฤดูกาลในไตรมาสนี้

การมีงานทำ ผู้มีงานทำในจังหวัดยะลา จำนวน 223,441 คน ทำงานในภาคเกษตร จำนวน 144,519 คน หรือร้อยละ 64.68 ทำงานนอกภาคเกษตร จำนวน 78,922 คน โดยทำงานในสาขาการขายส่ง ขายปลีก มากที่สุด จำนวน 30,869 คน หรือร้อยละ 39.11 รองลงมาคือกิจกรรมโรงแรมและอาหาร จำนวน 11,418 คน คิดเป็นร้อยละ 14.47 และการบริหารราชการและป้องกันประเทศ จำนวน 9,146 คน หรือร้อยละ 11.59

การว่างงาน จังหวัดยะลามีผู้ว่างงานประมาณ 1,582 คน หรือมีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.70
โดยชายจะมีอัตราว่างงานสูงกว่าหญิงมาก กล่าวคือ เพศชายร้อยละ 0.93 ขณะที่เพศหญิงร้อยละ 0.41
ทั้งนี้ อัตราการว่างงานในไตรมาสนี้ลดลงกว่าไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 0.53 (ไตรมาส 1 ปี 2558 มีอัตราการว่างงานร้อยละ 1.23)

การบริการจัดหางานภายในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558
สถานประกอบการได้แจ้งตำแหน่งงานว่าง จำนวน 1,009 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 1,775 คน และการบรรจุงานจะมีอัตราบรรจุงานต่อตำแหน่งงานว่างร้อยละ 79.99

แรงงานต่างด้าว ที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทำงาน ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2558 มีจำนวน 159 คน แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นประเภทชั่วคราว (ม.9) จำนวน 122 คน รองลงมาคือ
แรงงานต่างด้าวประเภทมาตรา 12 (ยกเว้นมติ ครม.) จำนวน 37 คน และประเภทส่งเสริมการลงทุน จำนวน 1 คน ตามลำดับ โดยแรงงานต่างด้าวที่มีมากที่สุด ได้แก่ สัญชาติอื่นๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 47 คน หรือร้อยละ 38.52 และรองลงมาเป็นสัญชาติฟิลิปปินส์ จำนวน 33 คน หรือร้อยละ 27.05
สำหรับแรงงานด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2556 เป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้มาทำงานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ เมียนมา ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงานในจังหวัดมีจำนวนทั้งสิ้น 1,376 คน จำแนกเป็นสัญชาติ เมียนมา 1,322 คน (ร้อยละ 96.08) กัมพูชา 53 คน (ร้อยละ 3.85) และลาว
1 คน (ร้อยละ 0.07)

ในส่วนของแรงงานไทยที่ได้รับอนุมัติเดินทางไปทำงานต่างประเทศไตรมาส 2 ปี 2558 พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 22 คน และหากพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบว่า เดินทางไปโดยวิธี Re-Entry ทั้งหมด หรือร้อยละ 100 และส่วนภูมิภาคที่แรงงานไทยไปทำงานส่วนใหญ่จะกระจุกตัวที่ภูมิภาคเอเชีย จำนวน 21 คน หรือร้อยละ 95.45 และตะวันออกกลาง จำนวน 1 คน (ร้อยละ 4.55) ของแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศทั้งหมด

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน จำนวน 42 คน อยู่ระหว่างการฝึกจึงยัง
ไม่ทราบผลการฝึกว่ามีผู้ผ่านการฝึกจำนวนกี่คน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จำนวน 90 คน และผ่านการฝึกทั้งหมด โดยกลุ่มอาชีพที่ฝึกยกระดับฝีมือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอาชีพธุรกิจและบริการ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานมีการทดสอบ 123 คน และผ่านการทดสอบจำนวน 118 คน โดยประเภทที่เข้าทดสอบมากที่สุด ได้แก่
ประเภทธุรกิจและบริการ จำนวน 66 คน และ ประเภทอุตสาหกรรมศิลป์ จำนวน 21 คน

การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น 43 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ
จำนวน 528 คน ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดกลาง 50-99 คน ร้อยละ 32.01
มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องอยู่ 2 แห่ง

การตรวจความปลอดภัยในการทำงาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 21 แห่ง ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จำนวน 368 คน พบว่าในไตรมาสนี้ไม่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยอยู่เลย

การประสบอันอันตราย/เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2558 จังหวัดยะลามีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน จำนวน 37 คน โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จำนวน 17 คน หรือร้อยละ 45.95 และหยุดเกิน 3 วัน จำนวน 20 คน หรือร้อยละ 54.05
และในไตรมาสนี้ไม่มีผู้ตาย สูญหาย หรือสูญเสียอวัยวะบางส่วน

การเลิกจ้างแรงงาน สถานประกอบกิจการในจังหวัดยะลา ที่เลิกกิจการ มีจำนวน 2 แห่ง ลูกจ้าง
ถูกเลิกจ้าง 4 คน เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก 1-9 คน ทั้ง 2 แห่ง หรือร้อยละ 100 โดยประเภทกิจการที่มีการเลิกกิจการ ได้แก่ ประเภทร้านสินค้าเบ็ดเตล็ด การค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 3 คน และการค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง จำนวน 1 คน

การประกันสังคม ข้อมูล เดือนมิถุนายน 2558 พบว่าจังหวัดยะลามีสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจำนวน 1,448 แห่ง จำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่อยู่ในข่ายกองทุนเงินทดแทน
จำนวน 1,248 แห่ง ลูกจ้าง 15,573 คน และมีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล
จำนวน 2 แห่ง

บทสรุปผู้บริหาร

สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558 มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้

สำนักงานคลังจังหวัดยะลา รายงานภาวะเศรษฐกิจจังหวัดยะลา ประจำเดือนพฤษภาคม 2558
ว่าเศรษฐกิจจังหวัดมีสัญญาณขยายตัวจาก ด้านอุปทาน ตามการขยายตัวของการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้านอุปสงค์ เป็นผลมาจากการขยายตัวของการค้าชายแดน และการบริโภคเอกชน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อของจังหวัดต่ำสุดในรอบ 6 ปี รายได้เกษตรกร ในจังหวัดยะลาขยายตัว
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) มีสัญญาณขยายตัว สะท้อนจากดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ในเดือนพฤษภาคม 2558 ขยายตัวร้อยละ 25.86 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน เป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญของจังหวัดมีปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.26 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย มีฝนตกทั่วทุกพื้นที่ ทำให้ต้นยางพารามีน้ำหล่อเลี้ยงที่เพียงพอต่อการใช้ผลิตน้ำยาง ส่งผลให้ปริมาณน้ำยางที่กรีดได้เพิ่มขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว
ร้อยละ 4.62 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางพารา ขยายตัวร้อยละ 20.37 เป็นผลมาจากผลผลิตยางพารา วัตถุดิบหลักที่สำคัญสำหรับใช้ในการผลิตมีจำนวนเพิ่มขึ้น โรงงานอุตสาหกรรม
จึงมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ด้านภาคบริการ ขยายตัว โดยดัชนีภาคบริการ ขยายตัว
ร้อยละ 23.48 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.68 เป็นผลมาจากได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และความร่วมมือที่ดีจากประเทศมาเลเซีย ร่วมกันประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ทำให้ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและสิงคโปร์ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในอำเภอเบตง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดเพิ่มมากขึ้น
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) โดยรวมขยายตัว จากเครื่องชี้ดัชนีการค้าชายแดน ขยายตัวร้อยละ 5.08 จากมูลค่าการส่งออกรวม ขยายตัวร้อยละ 9.66 โดยการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาจากสินค้าในหมวดอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากยางพารา เช่น ยางผสมสำเร็จ ยางแท่ง ยางสกิม ปรับตัวดีขึ้น ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 14.32 สะท้อนผ่านเครื่องชี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 22.91 เป็นผลมาจากกิจการการก่อสร้างอาคาร มียอดขายเพิ่มขึ้น ทำให้การจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ ด้านการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ร้อยละ 3.71 ปรับตัวลงลงจากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมร้อยละ 4.25 ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล หดตัวลดลง
ร้อยละ 10.55 เป็นผลมาจากากรเบิกจ่ายงบประจำหดตัวลดลงร้อยละ 18.46 เนื่องจากส่วนราชการหลายหน่วยงานมีการเบิกจ่ายงบประจำได้น้อยกว่าเดือนเดียวกันปีก่อน เช่น ศูนย์อำนวยการบริการจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกอบกับในปีนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับงบลงทุนบางส่วนในลักษณะงบประจำ ส่งผลให้เบิกจ่ายงบประจำได้ลดลง ส่วนการเบิกจ่ายงบลงทุน
ขยายตัวร้อยละ 38.09 เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผ่านมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายของ
ส่วนราชการ เพื่อเร่งอัดฉีดเม็ดเงินลงสู่ระบบเศรษฐกิจในภาวะที่เศรษฐกิจกำลังชะลอตัว

จังหวัดยะลามีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัดยะลา จำนวน 324,996 คน เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน225,022 คน ผู้มีงานทำ 223,441 คน ผู้ว่างงาน 1,582 คน และไม่มีกำลังที่แรงงานรอฤดูกาลในไตรมาสนี้

การมีงานทำ ผู้มีงานทำในจังหวัดยะลา จำนวน 223,441 คน ทำงานในภาคเกษตร จำนวน 144,519 คน หรือร้อยละ 64.68 ทำงานนอกภาคเกษตร จำนวน 78,922 คน โดยทำงานในสาขาการขายส่ง ขายปลีก มากที่สุด จำนวน 30,869 คน หรือร้อยละ 39.11 รองลงมาคือกิจกรรมโรงแรมและอาหาร จำนวน 11,418 คน คิดเป็นร้อยละ 14.47 และการบริหารราชการและป้องกันประเทศ จำนวน 9,146 คน หรือร้อยละ 11.59

การว่างงาน จังหวัดยะลามีผู้ว่างงานประมาณ 1,582 คน หรือมีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.70
โดยชายจะมีอัตราว่างงานสูงกว่าหญิงมาก กล่าวคือ เพศชายร้อยละ 0.93 ขณะที่เพศหญิงร้อยละ 0.41
ทั้งนี้ อัตราการว่างงานในไตรมาสนี้ลดลงกว่าไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 0.53 (ไตรมาส 1 ปี 2558 มีอัตราการว่างงานร้อยละ 1.23)

การบริการจัดหางานภายในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558
สถานประกอบการได้แจ้งตำแหน่งงานว่าง จำนวน 1,009 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 1,775 คน และการบรรจุงานจะมีอัตราบรรจุงานต่อตำแหน่งงานว่างร้อยละ 79.99

แรงงานต่างด้าว ที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทำงาน ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2558 มีจำนวน 159 คน แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นประเภทชั่วคราว (ม.9) จำนวน 122 คน รองลงมาคือ
แรงงานต่างด้าวประเภทมาตรา 12 (ยกเว้นมติ ครม.) จำนวน 37 คน และประเภทส่งเสริมการลงทุน จำนวน 1 คน ตามลำดับ โดยแรงงานต่างด้าวที่มีมากที่สุด ได้แก่ สัญชาติอื่นๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 47 คน หรือร้อยละ 38.52 และรองลงมาเป็นสัญชาติฟิลิปปินส์ จำนวน 33 คน หรือร้อยละ 27.05
สำหรับแรงงานด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2556 เป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้มาทำงานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ เมียนมา ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงานในจังหวัดมีจำนวนทั้งสิ้น 1,376 คน จำแนกเป็นสัญชาติ เมียนมา 1,322 คน (ร้อยละ 96.08) กัมพูชา 53 คน (ร้อยละ 3.85) และลาว
1 คน (ร้อยละ 0.07)

ในส่วนของแรงงานไทยที่ได้รับอนุมัติเดินทางไปทำงานต่างประเทศไตรมาส 2 ปี 2558 พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 22 คน และหากพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบว่า เดินทางไปโดยวิธี Re-Entry ทั้งหมด หรือร้อยละ 100 และส่วนภูมิภาคที่แรงงานไทยไปทำงานส่วนใหญ่จะกระจุกตัวที่ภูมิภาคเอเชีย จำนวน 21 คน หรือร้อยละ 95.45 และตะวันออกกลาง จำนวน 1 คน (ร้อยละ 4.55) ของแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศทั้งหมด

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน จำนวน 42 คน อยู่ระหว่างการฝึกจึงยัง
ไม่ทราบผลการฝึกว่ามีผู้ผ่านการฝึกจำนวนกี่คน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จำนวน 90 คน และผ่านการฝึกทั้งหมด โดยกลุ่มอาชีพที่ฝึกยกระดับฝีมือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอาชีพธุรกิจและบริการ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานมีการทดสอบ 123 คน และผ่านการทดสอบจำนวน 118 คน โดยประเภทที่เข้าทดสอบมากที่สุด ได้แก่
ประเภทธุรกิจและบริการ จำนวน 66 คน และ ประเภทอุตสาหกรรมศิลป์ จำนวน 21 คน

การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น 43 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ
จำนวน 528 คน ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดกลาง 50-99 คน ร้อยละ 32.01
มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องอยู่ 2 แห่ง

การตรวจความปลอดภัยในการทำงาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 21 แห่ง ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จำนวน 368 คน พบว่าในไตรมาสนี้ไม่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยอยู่เลย

การประสบอันอันตราย/เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2558 จังหวัดยะลามีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน จำนวน 37 คน โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จำนวน 17 คน หรือร้อยละ 45.95 และหยุดเกิน 3 วัน จำนวน 20 คน หรือร้อยละ 54.05
และในไตรมาสนี้ไม่มีผู้ตาย สูญหาย หรือสูญเสียอวัยวะบางส่วน

การเลิกจ้างแรงงาน สถานประกอบกิจการในจังหวัดยะลา ที่เลิกกิจการ มีจำนวน 2 แห่ง ลูกจ้าง
ถูกเลิกจ้าง 4 คน เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก 1-9 คน ทั้ง 2 แห่ง หรือร้อยละ 100 โดยประเภทกิจการที่มีการเลิกกิจการ ได้แก่ ประเภทร้านสินค้าเบ็ดเตล็ด การค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 3 คน และการค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง จำนวน 1 คน

การประกันสังคม ข้อมูล เดือนมิถุนายน 2558 พบว่าจังหวัดยะลามีสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจำนวน 1,448 แห่ง จำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่อยู่ในข่ายกองทุนเงินทดแทน
จำนวน 1,248 แห่ง ลูกจ้าง 15,573 คน และมีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล
จำนวน 2 แห่งบทสรุปผู้บริหาร

สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558 มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้

สำนักงานคลังจังหวัดยะลา รายงานภาวะเศรษฐกิจจังหวัดยะลา ประจำเดือนพฤษภาคม 2558
ว่าเศรษฐกิจจังหวัดมีสัญญาณขยายตัวจาก ด้านอุปทาน ตามการขยายตัวของการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้านอุปสงค์ เป็นผลมาจากการขยายตัวของการค้าชายแดน และการบริโภคเอกชน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อของจังหวัดต่ำสุดในรอบ 6 ปี รายได้เกษตรกร ในจังหวัดยะลาขยายตัว
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) มีสัญญาณขยายตัว สะท้อนจากดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ในเดือนพฤษภาคม 2558 ขยายตัวร้อยละ 25.86 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน เป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญของจังหวัดมีปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.26 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย มีฝนตกทั่วทุกพื้นที่ ทำให้ต้นยางพารามีน้ำหล่อเลี้ยงที่เพียงพอต่อการใช้ผลิตน้ำยาง ส่งผลให้ปริมาณน้ำยางที่กรีดได้เพิ่มขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว
ร้อยละ 4.62 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางพารา ขยายตัวร้อยละ 20.37 เป็นผลมาจากผลผลิตยางพารา วัตถุดิบหลักที่สำคัญสำหรับใช้ในการผลิตมีจำนวนเพิ่มขึ้น โรงงานอุตสาหกรรม
จึงมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ด้านภาคบริการ ขยายตัว โดยดัชนีภาคบริการ ขยายตัว
ร้อยละ 23.48 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.68 เป็นผลมาจากได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และความร่วมมือที่ดีจากประเทศมาเลเซีย ร่วมกันประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ทำให้ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและสิงคโปร์ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในอำเภอเบตง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดเพิ่มมากขึ้น
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) โดยรวมขยายตัว จากเครื่องชี้ดัชนีการค้าชายแดน ขยายตัวร้อยละ 5.08 จากมูลค่าการส่งออกรวม ขยายตัวร้อยละ 9.66 โดยการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาจากสินค้าในหมวดอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากยางพารา เช่น ยางผสมสำเร็จ ยางแท่ง ยางสกิม ปรับตัวดีขึ้น ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 14.32 สะท้อนผ่านเครื่องชี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 22.91 เป็นผลมาจากกิจการการก่อสร้างอาคาร มียอดขายเพิ่มขึ้น ทำให้การจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ ด้านการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ร้อยละ 3.71 ปรับตัวลงลงจากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมร้อยละ 4.25 ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล หดตัวลดลง
ร้อยละ 10.55 เป็นผลมาจากากรเบิกจ่ายงบประจำหดตัวลดลงร้อยละ 18.46 เนื่องจากส่วนราชการหลายหน่วยงานมีการเบิกจ่ายงบประจำได้น้อยกว่าเดือนเดียวกันปีก่อน เช่น ศูนย์อำนวยการบริการจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกอบกับในปีนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับงบลงทุนบางส่วนในลักษณะงบประจำ ส่งผลให้เบิกจ่ายงบประจำได้ลดลง ส่วนการเบิกจ่ายงบลงทุน
ขยายตัวร้อยละ 38.09 เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผ่านมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายของ
ส่วนราชการ เพื่อเร่งอัดฉีดเม็ดเงินลงสู่ระบบเศรษฐกิจในภาวะที่เศรษฐกิจกำลังชะลอตัว

จังหวัดยะลามีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัดยะลา จำนวน 324,996 คน เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน225,022 คน ผู้มีงานทำ 223,441 คน ผู้ว่างงาน 1,582 คน และไม่มีกำลังที่แรงงานรอฤดูกาลในไตรมาสนี้

การมีงานทำ ผู้มีงานทำในจังหวัดยะลา จำนวน 223,441 คน ทำงานในภาคเกษตร จำนวน 144,519 คน หรือร้อยละ 64.68 ทำงานนอกภาคเกษตร จำนวน 78,922 คน โดยทำงานในสาขาการขายส่ง ขายปลีก มากที่สุด จำนวน 30,869 คน หรือร้อยละ 39.11 รองลงมาคือกิจกรรมโรงแรมและอาหาร จำนวน 11,418 คน คิดเป็นร้อยละ 14.47 และการบริหารราชการและป้องกันประเทศ จำนวน 9,146 คน หรือร้อยละ 11.59

การว่างงาน จังหวัดยะลามีผู้ว่างงานประมาณ 1,582 คน หรือมีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.70
โดยชายจะมีอัตราว่างงานสูงกว่าหญิงมาก กล่าวคือ เพศชายร้อยละ 0.93 ขณะที่เพศหญิงร้อยละ 0.41
ทั้งนี้ อัตราการว่างงานในไตรมาสนี้ลดลงกว่าไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 0.53 (ไตรมาส 1 ปี 2558 มีอัตราการว่างงานร้อยละ 1.23)

การบริการจัดหางานภายในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558
สถานประกอบการได้แจ้งตำแหน่งงานว่าง จำนวน 1,009 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 1,775 คน และการบรรจุงานจะมีอัตราบรรจุงานต่อตำแหน่งงานว่างร้อยละ 79.99

แรงงานต่างด้าว ที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทำงาน ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2558 มีจำนวน 159 คน แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นประเภทชั่วคราว (ม.9) จำนวน 122 คน รองลงมาคือ
แรงงานต่างด้าวประเภทมาตรา 12 (ยกเว้นมติ ครม.) จำนวน 37 คน และประเภทส่งเสริมการลงทุน จำนวน 1 คน ตามลำดับ โดยแรงงานต่างด้าวที่มีมากที่สุด ได้แก่ สัญชาติอื่นๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 47 คน หรือร้อยละ 38.52 และรองลงมาเป็นสัญชาติฟิลิปปินส์ จำนวน 33 คน หรือร้อยละ 27.05
สำหรับแรงงานด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2556 เป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้มาทำงานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ เมียนมา ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงานในจังหวัดมีจำนวนทั้งสิ้น 1,376 คน จำแนกเป็นสัญชาติ เมียนมา 1,322 คน (ร้อยละ 96.08) กัมพูชา 53 คน (ร้อยละ 3.85) และลาว
1 คน (ร้อยละ 0.07)

ในส่วนของแรงงานไทยที่ได้รับอนุมัติเดินทางไปทำงานต่างประเทศไตรมาส 2 ปี 2558 พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 22 คน และหากพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบว่า เดินทางไปโดยวิธี Re-Entry ทั้งหมด หรือร้อยละ 100 และส่วนภูมิภาคที่แรงงานไทยไปทำงานส่วนใหญ่จะกระจุกตัวที่ภูมิภาคเอเชีย จำนวน 21 คน หรือร้อยละ 95.45 และตะวันออกกลาง จำนวน 1 คน (ร้อยละ 4.55) ของแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศทั้งหมด

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน จำนวน 42 คน อยู่ระหว่างการฝึกจึงยัง
ไม่ทราบผลการฝึกว่ามีผู้ผ่านการฝึกจำนวนกี่คน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จำนวน 90 คน และผ่านการฝึกทั้งหมด โดยกลุ่มอาชีพที่ฝึกยกระดับฝีมือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอาชีพธุรกิจและบริการ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานมีการทดสอบ 123 คน และผ่านการทดสอบจำนวน 118 คน โดยประเภทที่เข้าทดสอบมากที่สุด ได้แก่
ประเภทธุรกิจและบริการ จำนวน 66 คน และ ประเภทอุตสาหกรรมศิลป์ จำนวน 21 คน

การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น 43 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ
จำนวน 528 คน ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดกลาง 50-99 คน ร้อยละ 32.01
มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องอยู่ 2 แห่ง

การตรวจความปลอดภัยในการทำงาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 21 แห่ง ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จำนวน 368 คน พบว่าในไตรมาสนี้ไม่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยอยู่เลย

การประสบอันอันตราย/เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2558 จังหวัดยะลามีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน จำนวน 37 คน โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จำนวน 17 คน หรือร้อยละ 45.95 และหยุดเกิน 3 วัน จำนวน 20 คน หรือร้อยละ 54.05
และในไตรมาสนี้ไม่มีผู้ตาย สูญหาย หรือสูญเสียอวัยวะบางส่วน

การเลิกจ้างแรงงาน สถานประกอบกิจการในจังหวัดยะลา ที่เลิกกิจการ มีจำนวน 2 แห่ง ลูกจ้าง
ถูกเลิกจ้าง 4 คน เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก 1-9 คน ทั้ง 2 แห่ง หรือร้อยละ 100 โดยประเภทกิจการที่มีการเลิกกิจการ ได้แก่ ประเภทร้านสินค้าเบ็ดเตล็ด การค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 3 คน และการค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง จำนวน 1 คน

การประกันสังคม ข้อมูล เดือนมิถุนายน 2558 พบว่าจังหวัดยะลามีสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจำนวน 1,448 แห่ง จำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่อยู่ในข่ายกองทุนเงินทดแทน
จำนวน 1,248 แห่ง ลูกจ้าง 15,573 คน และมีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล
จำนวน 2 แห่งบทสรุปผู้บริหาร

สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558 มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้

สำนักงานคลังจังหวัดยะลา รายงานภาวะเศรษฐกิจจังหวัดยะลา ประจำเดือนพฤษภาคม 2558
ว่าเศรษฐกิจจังหวัดมีสัญญาณขยายตัวจาก ด้านอุปทาน ตามการขยายตัวของการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้านอุปสงค์ เป็นผลมาจากการขยายตัวของการค้าชายแดน และการบริโภคเอกชน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อของจังหวัดต่ำสุดในรอบ 6 ปี รายได้เกษตรกร ในจังหวัดยะลาขยายตัว
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) มีสัญญาณขยายตัว สะท้อนจากดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ในเดือนพฤษภาคม 2558 ขยายตัวร้อยละ 25.86 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน เป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญของจังหวัดมีปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.26 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย มีฝนตกทั่วทุกพื้นที่ ทำให้ต้นยางพารามีน้ำหล่อเลี้ยงที่เพียงพอต่อการใช้ผลิตน้ำยาง ส่งผลให้ปริมาณน้ำยางที่กรีดได้เพิ่มขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว
ร้อยละ 4.62 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางพารา ขยายตัวร้อยละ 20.37 เป็นผลมาจากผลผลิตยางพารา วัตถุดิบหลักที่สำคัญสำหรับใช้ในการผลิตมีจำนวนเพิ่มขึ้น โรงงานอุตสาหกรรม
จึงมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ด้านภาคบริการ ขยายตัว โดยดัชนีภาคบริการ ขยายตัว
ร้อยละ 23.48 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.68 เป็นผลมาจากได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และความร่วมมือที่ดีจากประเทศมาเลเซีย ร่วมกันประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ทำให้ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและสิงคโปร์ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในอำเภอเบตง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดเพิ่มมากขึ้น
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) โดยรวมขยายตัว จากเครื่องชี้ดัชนีการค้าชายแดน ขยายตัวร้อยละ 5.08 จากมูลค่าการส่งออกรวม ขยายตัวร้อยละ 9.66 โดยการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาจากสินค้าในหมวดอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากยางพารา เช่น ยางผสมสำเร็จ ยางแท่ง ยางสกิม ปรับตัวดีขึ้น ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 14.32 สะท้อนผ่านเครื่องชี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 22.91 เป็นผลมาจากกิจการการก่อสร้างอาคาร มียอดขายเพิ่มขึ้น ทำให้การจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ ด้านการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ร้อยละ 3.71 ปรับตัวลงลงจากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมร้อยละ 4.25 ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล หดตัวลดลง
ร้อยละ 10.55 เป็นผลมาจากากรเบิกจ่ายงบประจำหดตัวลดลงร้อยละ 18.46 เนื่องจากส่วนราชการหลายหน่วยงานมีการเบิกจ่ายงบประจำได้น้อยกว่าเดือนเดียวกันปีก่อน เช่น ศูนย์อำนวยการบริการจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกอบกับในปีนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับงบลงทุนบางส่วนในลักษณะงบประจำ ส่งผลให้เบิกจ่ายงบประจำได้ลดลง ส่วนการเบิกจ่ายงบลงทุน
ขยายตัวร้อยละ 38.09 เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผ่านมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายของ
ส่วนราชการ เพื่อเร่งอัดฉีดเม็ดเงินลงสู่ระบบเศรษฐกิจในภาวะที่เศรษฐกิจกำลังชะลอตัว

จังหวัดยะลามีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัดยะลา จำนวน 324,996 คน เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน225,022 คน ผู้มีงานทำ 223,441 คน ผู้ว่างงาน 1,582 คน และไม่มีกำลังที่แรงงานรอฤดูกาลในไตรมาสนี้

การมีงานทำ ผู้มีงานทำในจังหวัดยะลา จำนวน 223,441 คน ทำงานในภาคเกษตร จำนวน 144,519 คน หรือร้อยละ 64.68 ทำงานนอกภาคเกษตร จำนวน 78,922 คน โดยทำงานในสาขาการขายส่ง ขายปลีก มากที่สุด จำนวน 30,869 คน หรือร้อยละ 39.11 รองลงมาคือกิจกรรมโรงแรมและอาหาร จำนวน 11,418 คน คิดเป็นร้อยละ 14.47 และการบริหารราชการและป้องกันประเทศ จำนวน 9,146 คน หรือร้อยละ 11.59

การว่างงาน จังหวัดยะลามีผู้ว่างงานประมาณ 1,582 คน หรือมีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.70
โดยชายจะมีอัตราว่างงานสูงกว่าหญิงมาก กล่าวคือ เพศชายร้อยละ 0.93 ขณะที่เพศหญิงร้อยละ 0.41
ทั้งนี้ อัตราการว่างงานในไตรมาสนี้ลดลงกว่าไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 0.53 (ไตรมาส 1 ปี 2558 มีอัตราการว่างงานร้อยละ 1.23)

การบริการจัดหางานภายในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558
สถานประกอบการได้แจ้งตำแหน่งงานว่าง จำนวน 1,009 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 1,775 คน และการบรรจุงานจะมีอัตราบรรจุงานต่อตำแหน่งงานว่างร้อยละ 79.99

แรงงานต่างด้าว ที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทำงาน ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2558 มีจำนวน 159 คน แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นประเภทชั่วคราว (ม.9) จำนวน 122 คน รองลงมาคือ
แรงงานต่างด้าวประเภทมาตรา 12 (ยกเว้นมติ ครม.) จำนวน 37 คน และประเภทส่งเสริมการลงทุน จำนวน 1 คน ตามลำดับ โดยแรงงานต่างด้าวที่มีมากที่สุด ได้แก่ สัญชาติอื่นๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 47 คน หรือร้อยละ 38.52 และรองลงมาเป็นสัญชาติฟิลิปปินส์ จำนวน 33 คน หรือร้อยละ 27.05
สำหรับแรงงานด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2556 เป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้มาทำงานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ เมียนมา ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงานในจังหวัดมีจำนวนทั้งสิ้น 1,376 คน จำแนกเป็นสัญชาติ เมียนมา 1,322 คน (ร้อยละ 96.08) กัมพูชา 53 คน (ร้อยละ 3.85) และลาว
1 คน (ร้อยละ 0.07)

ในส่วนของแรงงานไทยที่ได้รับอนุมัติเดินทางไปทำงานต่างประเทศไตรมาส 2 ปี 2558 พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 22 คน และหากพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบว่า เดินทางไปโดยวิธี Re-Entry ทั้งหมด หรือร้อยละ 100 และส่วนภูมิภาคที่แรงงานไทยไปทำงานส่วนใหญ่จะกระจุกตัวที่ภูมิภาคเอเชีย จำนวน 21 คน หรือร้อยละ 95.45 และตะวันออกกลาง จำนวน 1 คน (ร้อยละ 4.55) ของแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศทั้งหมด

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน จำนวน 42 คน อยู่ระหว่างการฝึกจึงยัง
ไม่ทราบผลการฝึกว่ามีผู้ผ่านการฝึกจำนวนกี่คน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จำนวน 90 คน และผ่านการฝึกทั้งหมด โดยกลุ่มอาชีพที่ฝึกยกระดับฝีมือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอาชีพธุรกิจและบริการ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานมีการทดสอบ 123 คน และผ่านการทดสอบจำนวน 118 คน โดยประเภทที่เข้าทดสอบมากที่สุด ได้แก่
ประเภทธุรกิจและบริการ จำนวน 66 คน และ ประเภทอุตสาหกรรมศิลป์ จำนวน 21 คน

การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น 43 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ
จำนวน 528 คน ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดกลาง 50-99 คน ร้อยละ 32.01
มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องอยู่ 2 แห่ง

การตรวจความปลอดภัยในการทำงาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 21 แห่ง ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จำนวน 368 คน พบว่าในไตรมาสนี้ไม่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยอยู่เลย

การประสบอันอันตราย/เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2558 จังหวัดยะลามีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน จำนวน 37 คน โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จำนวน 17 คน หรือร้อยละ 45.95 และหยุดเกิน 3 วัน จำนวน 20 คน หรือร้อยละ 54.05
และในไตรมาสนี้ไม่มีผู้ตาย สูญหาย หรือสูญเสียอวัยวะบางส่วน

การเลิกจ้างแรงงาน สถานประกอบกิจการในจังหวัดยะลา ที่เลิกกิจการ มีจำนวน 2 แห่ง ลูกจ้าง
ถูกเลิกจ้าง 4 คน เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก 1-9 คน ทั้ง 2 แห่ง หรือร้อยละ 100 โดยประเภทกิจการที่มีการเลิกกิจการ ได้แก่ ประเภทร้านสินค้าเบ็ดเตล็ด การค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 3 คน และการค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง จำนวน 1 คน

การประกันสังคม ข้อมูล เดือนมิถุนายน 2558 พบว่าจังหวัดยะลามีสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจำนวน 1,448 แห่ง จำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่อยู่ในข่ายกองทุนเงินทดแทน
จำนวน 1,248 แห่ง ลูกจ้าง 15,573 คน และมีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล
จำนวน 2 แห่งบทสรุปผู้บริหาร

สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558 มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้

สำนักงานคลังจังหวัดยะลา รายงานภาวะเศรษฐกิจจังหวัดยะลา ประจำเดือนพฤษภาคม 2558
ว่าเศรษฐกิจจังหวัดมีสัญญาณขยายตัวจาก ด้านอุปทาน ตามการขยายตัวของการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ด้านอุปสงค์ เป็นผลมาจากการขยายตัวของการค้าชายแดน และการบริโภคเอกชน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อของจังหวัดต่ำสุดในรอบ 6 ปี รายได้เกษตรกร ในจังหวัดยะลาขยายตัว
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) มีสัญญาณขยายตัว สะท้อนจากดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ในเดือนพฤษภาคม 2558 ขยายตัวร้อยละ 25.86 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน เป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญของจังหวัดมีปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.26 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย มีฝนตกทั่วทุกพื้นที่ ทำให้ต้นยางพารามีน้ำหล่อเลี้ยงที่เพียงพอต่อการใช้ผลิตน้ำยาง ส่งผลให้ปริมาณน้ำยางที่กรีดได้เพิ่มขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว
ร้อยละ 4.62 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์จากยางพารา ขยายตัวร้อยละ 20.37 เป็นผลมาจากผลผลิตยางพารา วัตถุดิบหลักที่สำคัญสำหรับใช้ในการผลิตมีจำนวนเพิ่มขึ้น โรงงานอุตสาหกรรม
จึงมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่ด้านภาคบริการ ขยายตัว โดยดัชนีภาคบริการ ขยายตัว
ร้อยละ 23.48 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน จากจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.68 เป็นผลมาจากได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และความร่วมมือที่ดีจากประเทศมาเลเซีย ร่วมกันประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ทำให้ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียและสิงคโปร์ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในอำเภอเบตง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดเพิ่มมากขึ้น
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) โดยรวมขยายตัว จากเครื่องชี้ดัชนีการค้าชายแดน ขยายตัวร้อยละ 5.08 จากมูลค่าการส่งออกรวม ขยายตัวร้อยละ 9.66 โดยการส่งออกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาจากสินค้าในหมวดอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากยางพารา เช่น ยางผสมสำเร็จ ยางแท่ง ยางสกิม ปรับตัวดีขึ้น ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 14.32 สะท้อนผ่านเครื่องชี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ขยายตัวร้อยละ 22.91 เป็นผลมาจากกิจการการก่อสร้างอาคาร มียอดขายเพิ่มขึ้น ทำให้การจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ ด้านการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ร้อยละ 3.71 ปรับตัวลงลงจากเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมร้อยละ 4.25 ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล หดตัวลดลง
ร้อยละ 10.55 เป็นผลมาจากากรเบิกจ่ายงบประจำหดตัวลดลงร้อยละ 18.46 เนื่องจากส่วนราชการหลายหน่วยงานมีการเบิกจ่ายงบประจำได้น้อยกว่าเดือนเดียวกันปีก่อน เช่น ศูนย์อำนวยการบริการจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประกอบกับในปีนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับงบลงทุนบางส่วนในลักษณะงบประจำ ส่งผลให้เบิกจ่ายงบประจำได้ลดลง ส่วนการเบิกจ่ายงบลงทุน
ขยายตัวร้อยละ 38.09 เนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลผ่านมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายของ
ส่วนราชการ เพื่อเร่งอัดฉีดเม็ดเงินลงสู่ระบบเศรษฐกิจในภาวะที่เศรษฐกิจกำลังชะลอตัว

จังหวัดยะลามีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในจังหวัดยะลา จำนวน 324,996 คน เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงาน225,022 คน ผู้มีงานทำ 223,441 คน ผู้ว่างงาน 1,582 คน และไม่มีกำลังที่แรงงานรอฤดูกาลในไตรมาสนี้

การมีงานทำ ผู้มีงานทำในจังหวัดยะลา จำนวน 223,441 คน ทำงานในภาคเกษตร จำนวน 144,519 คน หรือร้อยละ 64.68 ทำงานนอกภาคเกษตร จำนวน 78,922 คน โดยทำงานในสาขาการขายส่ง ขายปลีก มากที่สุด จำนวน 30,869 คน หรือร้อยละ 39.11 รองลงมาคือกิจกรรมโรงแรมและอาหาร จำนวน 11,418 คน คิดเป็นร้อยละ 14.47 และการบริหารราชการและป้องกันประเทศ จำนวน 9,146 คน หรือร้อยละ 11.59

การว่างงาน จังหวัดยะลามีผู้ว่างงานประมาณ 1,582 คน หรือมีอัตราการว่างงานร้อยละ 0.70
โดยชายจะมีอัตราว่างงานสูงกว่าหญิงมาก กล่าวคือ เพศชายร้อยละ 0.93 ขณะที่เพศหญิงร้อยละ 0.41
ทั้งนี้ อัตราการว่างงานในไตรมาสนี้ลดลงกว่าไตรมาสที่แล้ว ร้อยละ 0.53 (ไตรมาส 1 ปี 2558 มีอัตราการว่างงานร้อยละ 1.23)

การบริการจัดหางานภายในประเทศ ในช่วงไตรมาสที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน) ปี 2558
สถานประกอบการได้แจ้งตำแหน่งงานว่าง จำนวน 1,009 อัตรา โดยมีผู้สมัครงาน 1,775 คน และการบรรจุงานจะมีอัตราบรรจุงานต่อตำแหน่งงานว่างร้อยละ 79.99

แรงงานต่างด้าว ที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ทำงาน ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2558 มีจำนวน 159 คน แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นประเภทชั่วคราว (ม.9) จำนวน 122 คน รองลงมาคือ
แรงงานต่างด้าวประเภทมาตรา 12 (ยกเว้นมติ ครม.) จำนวน 37 คน และประเภทส่งเสริมการลงทุน จำนวน 1 คน ตามลำดับ โดยแรงงานต่างด้าวที่มีมากที่สุด ได้แก่ สัญชาติอื่นๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 47 คน หรือร้อยละ 38.52 และรองลงมาเป็นสัญชาติฟิลิปปินส์ จำนวน 33 คน หรือร้อยละ 27.05
สำหรับแรงงานด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2556 เป็นแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้มาทำงานเป็นการชั่วคราว 3 สัญชาติ คือ เมียนมา ลาว กัมพูชา เพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงานในจังหวัดมีจำนวนทั้งสิ้น 1,376 คน จำแนกเป็นสัญชาติ เมียนมา 1,322 คน (ร้อยละ 96.08) กัมพูชา 53 คน (ร้อยละ 3.85) และลาว
1 คน (ร้อยละ 0.07)

ในส่วนของแรงงานไทยที่ได้รับอนุมัติเดินทางไปทำงานต่างประเทศไตรมาส 2 ปี 2558 พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 22 คน และหากพิจารณาตามวิธีการเดินทางพบว่า เดินทางไปโดยวิธี Re-Entry ทั้งหมด หรือร้อยละ 100 และส่วนภูมิภาคที่แรงงานไทยไปทำงานส่วนใหญ่จะกระจุกตัวที่ภูมิภาคเอเชีย จำนวน 21 คน หรือร้อยละ 95.45 และตะวันออกกลาง จำนวน 1 คน (ร้อยละ 4.55) ของแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศทั้งหมด

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีผู้เข้ารับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน จำนวน 42 คน อยู่ระหว่างการฝึกจึงยัง
ไม่ทราบผลการฝึกว่ามีผู้ผ่านการฝึกจำนวนกี่คน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน จำนวน 90 คน และผ่านการฝึกทั้งหมด โดยกลุ่มอาชีพที่ฝึกยกระดับฝีมือส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอาชีพธุรกิจและบริการ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานมีการทดสอบ 123 คน และผ่านการทดสอบจำนวน 118 คน โดยประเภทที่เข้าทดสอบมากที่สุด ได้แก่
ประเภทธุรกิจและบริการ จำนวน 66 คน และ ประเภทอุตสาหกรรมศิลป์ จำนวน 21 คน

การคุ้มครองแรงงาน จากการตรวจสถานประกอบการทั้งสิ้น 43 แห่ง มีลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ
จำนวน 528 คน ซึ่งสถานประกอบการที่ตรวจส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการขนาดกลาง 50-99 คน ร้อยละ 32.01
มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องอยู่ 2 แห่ง

การตรวจความปลอดภัยในการทำงาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการทั้งสิ้น 21 แห่ง ลูกจ้างที่ผ่านการตรวจ จำนวน 368 คน พบว่าในไตรมาสนี้ไม่มีสถานประกอบการที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายความปลอดภัยอยู่เลย

การประสบอันอันตราย/เจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2558 จังหวัดยะลามีการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน จำนวน 37 คน โดยประเภทของความร้ายแรง พบว่าส่วนใหญ่จะหยุดงานไม่เกิน 3 วัน จำนวน 17 คน หรือร้อยละ 45.95 และหยุดเกิน 3 วัน จำนวน 20 คน หรือร้อยละ 54.05
และในไตรมาสนี้ไม่มีผู้ตาย สูญหาย หรือสูญเสียอวัยวะบางส่วน

การเลิกจ้างแรงงาน สถานประกอบกิจการในจังหวัดยะลา ที่เลิกกิจการ มีจำนวน 2 แห่ง ลูกจ้าง
ถูกเลิกจ้าง 4 คน เป็นสถานประกอบการขนาดเล็ก 1-9 คน ทั้ง 2 แห่ง หรือร้อยละ 100 โดยประเภทกิจการที่มีการเลิกกิจการ ได้แก่ ประเภทร้านสินค้าเบ็ดเตล็ด การค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 3 คน และการค้าอื่นๆ 1 แห่ง ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง จำนวน 1 คน

การประกันสังคม ข้อมูล เดือนมิถุนายน 2558 พบว่าจังหวัดยะลามีสถานประกอบการที่เข้าสู่ระบบประกันสังคมจำนวน 1,448 แห่ง จำนวนสถานประกอบการและลูกจ้างที่อยู่ในข่ายกองทุนเงินทดแทน
จำนวน 1,248 แห่ง ลูกจ้าง 15,573 คน และมีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมที่เป็นสถานพยาบาลของรัฐบาล
จำนวน 2 แห่ง

ไฟล์แนบ:

TOP